จำนวนผู้ชม 165

มุมหนังสือ ป.ตรี

เลือกหมวดที่ต้องการศึกษา

- หมวดวิชาเลือกเสรี

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

วิชา ภาษาและวัฒนธรรมการใช้ภาษา

จำนวนเล่ม
0

ชื่อหนังสือ: ๕ ร้อยพันความงาม จากอีเมลของ ยอดเยี่ยม

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับเรื่องราวของความงดงามที่ยิ่งใหญ่ ความสวย หรือความรวย อ่านแล้วคิดได้ ตีความได้จากข้อมูล เป็นการขับเคลื่อนชีวิต ด้วยการคิดและยั้งคิดที่สมดุล

บรรณานุกรม: ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์. (๒๕๕๖). ๕ ร้อยพันความงาม จากอีเมลของ ยอดเยี่ยม. กรุงเทพฯ:แลททิชเวิร์ค.

 

ชื่อหนังสือ: การสอนภาษาไทย

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับแนวทางการสอนภาษาไทย ปัญหาและแนวทางการสอนภาษาไทย การวิเคราะห์หลักสูตร จิตวิทยาการเรียนการสอนภาษไทย การวางแผนการสอนและการทำบันทึกกาสอน ฯลฯ

บรรณานุกรม: สมพร มันตะสูตร. (๒๕๒๖). การสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : พีระพัธนา.

 

ชื่อหนังสือ: การพัฒนาทุนทางศิลปะและวัฒนธรรมย่านเยาวราช

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทุนทางศิลปะและวัฒนธรรมย่านเยาวราช แนวปฏิบัติในการจัดการมรดกศิลปะและวัฒนธรรมในพื้นที่ย่านเยาวราช เพื่อส่งเสริมและพัฒนาย่านเยาวราชโดยใช้ฐานคิดจากทุนทางวัฒนธรรมของพื้นที่ ฯลฯ
บรรณานุกรม: นันทนิตย์ วานิชาชีวะ และคนอื่น. (ม.ป.ป.). การพัฒนาทุนทางศิลปะและวัฒนธรรมย่านเยาวราช. ภายใต้ชุดโครงการ “มหาวิทยาลัยกับการขับเคลื่อนศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่” ครั้งที่ ๓  สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

 

ชื่อหนังสือ: ไกลกะลา

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชีวิตที่ไปพ้นจากกรอบจำกัดของความเป็นเขตแดนหรือพรมแดน อันหมายรวมได้ในหลายแง่ รวมถึงในแง่ของความเป็นชาติ อาทิ ลิ่วล่องวัยดรุณ อาณาบริเวณศึกษา ฯลฯ

บรรณานุกรม: เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน. (๒๕๖๒). ไกลกะลา. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

 

ชื่อหนังสือ: คราสและควินิน รื้อ-สร้าง ปากไก่และในเรือ

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์ของนิธิ เอียวศรีวงศ์ งานเขียนทางประวัติศาสตร์อธิบายถคงความแตกต่างกันระหว่างโลกทัศน์สมัยอยุธยากับสมัยต้นรัตนโกสินทร์ สอดคล้องกับการเดิติโตอขงอการค้าสมัยต้นรัตนโกสินทร์ที่มีเพิ่มมากขึ้น ฯลฯ

บรรณานุกรม: นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์ (ความเรียง). (๒๕๖๐). คราสและวินิน รื้อ-สร้าง ปากไก่และในเรือ. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

 

ชื่อหนังสือ: คัมภีร์ ๔๒ บท

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของคัมภีร์ ๔๒ บท  จุดเริมต้นพระพุทธศาสนาในจีและงานแปล ลำดับความเป็นมาของคัมภีร์ ๔๒ บท ว่าด้วยการออกบวช กรณียกิจที่พึงกระทำ การละอกุศลกรรมบถ ๑๐ ผู้ไม่สำนึกบาป ฯลฯ

บรรณานุกรม: พระมหาอานนท์ อานนฺโท. (๒๕๖๕). คัมภีร์ ๔๒ บท. กรุงเทพฯ : ศูนย์การแปลคัมภีร์พุทธศาสตร์ ไทย-จีน มูลนิธิพุทธรังสี. 

 

ชื่อหนังสือ: ไกลกะลา

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชีวิตที่ไปพ้นจากกรอบจำกัดของความเป็นเขตแดนหรือพรมแดน อันหมายรวมได้ในหลายแง่ รวมถึงในแง่ของความเป็นชาติ อาทิ ลิ่วล่องวัยดรุณ อาณาบริเวณศึกษา ฯลฯ

บรรณานุกรม: เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน. (๒๕๖๒). ไกลกะลา. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

 

ชื่อหนังสือ: คราสและควินิน รื้อ-สร้าง ปากไก่และในเรือ

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์ของนิธิ เอียวศรีวงศ์ งานเขียนทางประวัติศาสตร์อธิบายถคงความแตกต่างกันระหว่างโลกทัศน์สมัยอยุธยากับสมัยต้นรัตนโกสินทร์ สอดคล้องกับการเดิติโตอขงอการค้าสมัยต้นรัตนโกสินทร์ที่มีเพิ่มมากขึ้น ฯลฯ

บรรณานุกรม: นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์ (ความเรียง). (๒๕๖๐). คราสและวินิน รื้อ-สร้าง ปากไก่และในเรือ. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

 

ชื่อหนังสือ: พระสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อวโลกิเตศวรโพธิสัตว์สมันตมุขปริวรรต

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาพระสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อวโลกิเตศวรโพธิสัตว์สมันตมุขปริวรรต อธิบายเนื้อหาและอิทธิพลของสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อวโลกิเตศวรโพธิสัตว์สมันตมุขปริวรรต ฯลฯ

บรรณานุกรม: กนกพร นุ่มทอง และเกวลี เพชราทิพย์ (แปล). (๒๕๖๔). ระสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อวโลกิเตศวรโพธิสัตว์สมันตมุขปริวรรต. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ศูนย์การแปลคัมภีร์พุทธศาสตร์ไทย-จีน มูลนิธิพุทธรังสี.

ชื่อหนังสือ: พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับการปรับตัวของกลุ่มชนกับสภาพแวดล้อมในดินแดนไทย การสังสรรค์ทางเศรษฐกิจและสังคมกับภายนอก ที่ทำให้เกิดพัฒนาการทางการเมืองและวัฒนธรรม ฯลฯ

บรรณานุกรม: ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๕๔). พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ:เมืองโบราณ.

 

ชื่อหนังสือ: ภาษาจีน 4

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชีวิตประจำวันและรูปแบบที่นำเสนอ ศัพท์ โครงสร้างประโยค จาง่ายสู่ยาก ให้ความสำคัญกับความหมายของคำหรือตัวอักษณ ยึดหลักความถูกต้องตามมาตรฐานทางภาษา  เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีขึ้นในการที่จะเรียนด้วยตนเอง ฯลฯ

บรรณานุกรม: รุ่ง เรืองอักษร (แปล). (๒๕๓๗). ภาษาจีน 4. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.

.

 

ชื่อหนังสือ: ภาษาจีนคำที่มักใช้ผิด

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับคำในภาษาจีนที่ถูกต้อง และการนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการสื่อสารและการเขียน

บรรณานุกรม: เกาเฟย – อร ตระกูลสูง. (๒๕๓๒). ภาษาจีนคำที่มักใช้ผิด. กรุงเทพฯ : อักษรวัฒนา.

.

ชื่อหนังสือ: ภาษาญี่ปุ่น ชั้นต้น เล่ม 1

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับรูปประโยคและคำศัพท์ในแต่ละบท รูปประโยคมูลฐาน สาระสำคัญของบทเป็นการสรุปเนื้อหารที่ประสงค์ให้เรียนรู้แต่ละบท หลักไวยากรณ์ ฯลฯ

บรรณานุกรม: วัฒนา วุฒิจำนงค์. (๒๕๓๐). ภาษาญี่ปุ่น ชั้นต้น เล่ม ๑. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

 

ชื่อหนังสือ: ภาษาญี่ปุ่น ชั้นต้น เล่ม 2

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรภาษาญี่ปุ่น มี ๓ ชั้น คือ ชั้นต้น ชั้นกลาง และชั้นสูง เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนสนทนา คือ พูดและฟัง ในระยะเวลาอันสั้น ประมวลหลักไวยากรณ์ คำศัพท์ วลี และสำนวนที่ใช้กันอยู่เสมอ ฯลฯ

บรรณานุกรม: วัฒนา วุฒิจำนงค์ (เรียบเรียง). (๒๕๒๙). ภาษาญี่ปุ่น ชั้นต้น เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

.

 

ชื่อหนังสือ: ไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาสยปูรวปณิธานสูตร

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับความเป็นมา ประวัติโดยสังเขปของไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาสยปูรวปณิธานสูตร อธิบายเนื้อหาและอิทธิพลของไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาสยปูรวปณิธานสูตร ฯลฯ

บรรณานุกรม: เกวลี เพชราทิพย์ และกนกพร นุ่มทอง (แปล). (๒๕๖๔). ไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาสยปูรวปณิธานสูตร. กรุงเทพฯ : ศูนย์การแปลคัมภีร์พุทธศาสตร์ไทย-จีน มูลนิธิพุทธรังสี.

ชื่อหนังสือ: มอง วัฒนธรรม สู่การจัดการความรู้

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ ค้นพบความแตกต่างทางวัฒนธรรมการเรียนารู้ สร้างเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ จากวัฒนธรรมไทยสู่วัฒนธรรมในองค์กรเพื่อการจัดการความรู้ ฯลฯ

บรรณานุกรม: มงคลชัย วิริยะพินิจ. (๒๕๖๕). มอง วัฒนธรรม สู่การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

 

ชื่อหนังสือ: ร้อยคำที่ควรรู้ ฉบับปรับปรุงใหม่ เพิ่มอีกกว่า ๑๐๐ คำ

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับคำที่ควรรู้ เพื่อที่อาจารย์ นักศึกษา ข้าราชการ ผู้บริหารท้องถิ่นเรียนรู้คำอธิบายอย่างกระชับในวิถีของสังคมปัจจุบัน ฯลฯ

บรรณานุกรม: เสรี พงศ์พิศ. (๒๕๕๓). ร้อยคำที่ควรรู้ ฉบับปรับปรุงใหม่ เพิ่มอีกกว่า ๑๐๐ คำ. กรุงเทพฯ : เจริญวิทย์การพิมพ์.

.

 

ชื่อหนังสือ: เรียงถ้อยร้อยรักด้วยอักษร

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ของบ้านเมืองในอดีตที่ครอบครัววจิตรวาทการได้มีส่วนเกี่ยวข้อง  เรื่องราวในประวัติศาสตร์ทางด้านการเมืองของบ้านเรา

บรรณานุกรม: วิจิตรา วิจิตรวาทการ. (๒๕๔๙). เรียงถ้อยร้อยรักด้วยอักษร. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์.

ชื่อหนังสือ: วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของคัมภีร์วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ประวัติพระกุมารชีวะและงานแปล กระบวนการทำงานคณะแปลของพระกุมารชีวะ อิทธิพลและสาระสำคัญของวัชรปรัชญษปารมิตาสูตร ฯลฯ

บรรณานุกรม: พระมหาอานนท์ อานนฺโท. (๒๕๖๔). วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร. กรุงเทพฯ : ศูนย์การแปลคัมภีร์พุทธศาสตร์ไทย-จีน มูลนิธิพุทธรังสี.

 

ชื่อหนังสือ: ไวยากรณ์เวียดนาม

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับไวยากรณ์เวียดนาม ตัวอย่างที่เป็นภาษาเวียดนาม สำเนียงฮานอยปัจจุบัน ลักษณะโครงสร้างทางภาษาซึ่งมีทั้งที่เหมือนและต่างจากภาษาไทย นำไปประยุกต์ใช้กับภาษาพูดและภาษาเขียนให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น มีทั้งหมด ๖ บท ฯลฯ

บรรณานุกรม: โสภนา ศรีจำปา. (๒๕๖๒). ไวยากรณ์เวียดนาม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.

.

 

ชื่อหนังสือ: ภาษาไทยหลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๑

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการอ่าน การพัฒนาทักษะการเขียน การพัฒนาทักษะการฟัง การดู และการพูด หลักกการใช้ภาษา ฯลฯ

บรรณานุกรม: ฟองจันทร์ สุขยิ่ง และคนอื่น (เรียบเรียง). (๒๕๕๑). ภาษาไทยหลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๑. พิมพ์ครั้งที่ ๑๖. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

ชื่อหนังสือ: หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับหัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย หัวเรื่องสำหรับการลงรายการหนังสือภาษาไทย รวมจำนวนหัวเรื่องทั้งสิ้นประมาณ ๒๕,๐๐๐ หัวเรื่อง  ฯลฯ

บรรณานุกรม: คณะทำงานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา. (๒๕๔๗). หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๔. (ม.ป.ท. : ม.ป.พ.).

 

 

ชื่อหนังสือ: อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชื่อธาตุ ภาษิตและคำพังเพย และคัพท์บัญญัติ ที่มีอยู่ในพจนานุกรม เพื่อเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในคำ คำอ่านได้อย่างถูกต้อง ฯลฯ

บรรณานุกรม: ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๓๓). อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร. พิมพ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ : เพื่อนพิมพ์.

.

 

ชื่อหนังสือ: ENGLISH GRAMMAR

สาระสังเขป: หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับหลักไวยากรณ์อังกฤษ หลักไวยากรณ์อังกฤษที่สำคัญและควรรู้ไว้อย่างสมบูรณ์ โดยใช้คำอธิบายแบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน พร้อมตัวอย่าง คำแปล และเหตุผลประกอบกทุแห่ง สามารถอ่านเข้าใจได้โดยง่าย ฯลฯ

บรรณานุกรม:  ธง วิทัยวัฒน์. (๒๕๕๐). ENGLISH GRAMMAR. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์.

วิชา เศรษฐกิจและการจัดการในชีวิตประจำวัน

จำนวนเล่ม
0
[popup_anything id="33004"]
[popup_anything id="33008"]
[popup_anything id="33012"]
[popup_anything id="33016"]
[popup_anything id="33020"]

การคิด วิเคราะห์ และการตัดสินใจ

จำนวนเล่ม
0
[popup_anything id="33076"]
[popup_anything id="33508"]
[popup_anything id="33514"]
[popup_anything id="33522"]
[popup_anything id="33526"]
[popup_anything id="33533"]
[popup_anything id="33538"]
[popup_anything id="33542"]
[popup_anything id="33546"]
[popup_anything id="33550"]
[popup_anything id="33557"]
[popup_anything id="33564"]
[popup_anything id="33568"]
[popup_anything id="33573"]
[popup_anything id="33574"]
[popup_anything id="33579"]
[popup_anything id="33583"]
[popup_anything id="33587"]
[popup_anything id="33591"]
[popup_anything id="33595"]
[popup_anything id="33599"]
[popup_anything id="33603"]
[popup_anything id="33607"]
[popup_anything id="33611"]
[popup_anything id="33615"]
[popup_anything id="33620"]
[popup_anything id="33624"]
[popup_anything id="33629"]
[popup_anything id="33634"]
[popup_anything id="33638"]
[popup_anything id="33643"]
[popup_anything id="33647"]
[popup_anything id="33652"]
[popup_anything id="33656"]
[popup_anything id="33661"]
[popup_anything id="33081"]
[popup_anything id="33918"]
[popup_anything id="33925"]
[popup_anything id="33929"]
[popup_anything id="33933"]
[popup_anything id="33937"]
[popup_anything id="33944"]
[popup_anything id="33948"]
[popup_anything id="33952"]
[popup_anything id="33956"]

พลวัตสังคมโลกและสังคมไทย

จำนวนเล่ม
0
[popup_anything id="32939"]
[popup_anything id="32951"]
[popup_anything id="32943"]
[popup_anything id="32955"]
[popup_anything id="32947"]

สุนทรียภาพแห่งชีวิต

จำนวนเล่ม
0

ชุมชนอภิวัตน์

จำนวนเล่ม
0
[popup_anything id="32960"]
[popup_anything id="32965"]
[popup_anything id="32969"]
[popup_anything id="32959"]
[popup_anything id="32974"]

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิต

จำนวนเล่ม
0