เจตนารมย์ของกฎหมาย
1) เพื่อให้มีการรับรองสถานะการประกอบกิจการในลักษณะของ “วิสาหกิจชุมชน” หรือ “เครือข่าย วิสาหกิจชุมชน” (มาตรา 6 มาตรา 9) โดยวิสาหกิจชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนแล้วสามารถ ขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนจากคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน หรือมาตรการต่าง ๆ จากหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่ให้การสนับสนุนกิจการวิสาหกิจชุมชนทราบข้อมูลและความต้องการของวิสาหกิจชุมชน
2) เพื่อที่รัฐบาล หน่วยงานของรัฐและเอกชน และเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน เพื่อใช้ในการส่งเสริมและสนับสนุน (มาตรา 13)
“สหกรณ์” หมายความว่า คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดําเนินกิจการเพื่อประโยชน์ทาง เศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกสหกรณ์ผู้มีสัญชาติไทย โดยช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้”
มาตรา ๗ ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจากสหกรณ์และสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยใช้คําว่า “สหกรณ์” เป็นชื่อหรือส่วนหนึ่งของชื่อในทางธุรกิจ
หน่วยที่ ๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย การจัดองค์กรธุรกิจและการประกอบธุรกิจ ตราสารทางการเงิน และเกณฑ์มาตรฐานธรรมาภิบาลธุรกิจ
พระราชบัญญัตินี้ได้มีการกำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน” ประกอบไปด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นรองประธานกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกินสิบคนซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการ และมีเลขาธิการเป็นกรรมการและเลขาณุการ มีหน้าที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา ๖) และในการนี้ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(คณะกรรมการฯ) อาจมอบอำนาจให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(สำนักงานฯ) มีอำนาจในการกระทำการใด ๆแทน หรือแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อกระทำการใด ๆ ตามที่มอบหมายก็ได้(มาตรา ๑๑)
หน่วยที่ ๒ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับการประกอบการชุมชน